เศรษฐกิจโลก 1000 ปี - AN OVERVIEW

เศรษฐกิจโลก 1000 ปี - An Overview

เศรษฐกิจโลก 1000 ปี - An Overview

Blog Article

เป็นหนังสือที่ดีเลยอ่านสบายๆ สรุปเรื่องราวสำคัญๆของประวัติศาสตร์โลก ไม่รู้สึกว่าเน้นไปทางเศรษฐกิจเท่าไร แต่จะเน้นไปทางประวัติศาสตร์เสียมากกว่า คำอธิบายในเชิงเศรษฐศาสตร์ไม่ได้เยอะมาก ตอนแรกคาดหวังว่าจะได้รู้สาเหตุการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจและสิ่งที่ตามมาโดยอธิบายในทางเศรษฐศาสตร์ แต่ก็แค่เล่าเรื่องราวเฉยๆ ถ้าอยากรู้ประวัติศาสตร์แบบ wrap up เล่มนี้ก็ใช้ได้เลย แต่ถ้าอยากอ่านแบบละเอียดๆแนะนำให้ไปอ่าน major credit card debt crises จะละเอียดกว่ามากๆ

งานนิทรรศการโลก นำมาสู่ความกระตือรือร้นในการแข่งขันประดิษฐ์คิดค้นของผู้คนในประเทศอุตสาหกรรมทั้งฝั่งยุโรปและสหรัฐอเมริกา ทุกคนทุ่มเทพยายามเพื่อต่อยอดจากองค์ความรู้สู่นวัตกรรมที่จะเปลี่ยนแปลงโลก อเล็กซานเดอร์เกรแฮมเบลล์ เดิมที่ตั้งใจจะประดิษฐ์เครื่องมือสำหรับช่วยให้ผู้คนหูหนวกสามารถได้ยินเหมือนคนปกติแต่กลับค้นพบวิธีส่งเสียงตามสายพานลวดทองแดง เกิดเป็นการประดิษฐ์โทรศัพท์ไปในที่สุด

แล้วทำไมอยู่ดีๆ อังกฤษและฝรั่งเศสมาเจริญแทนเนเธอแลนด์?

เหยื่อรายถัดมาคือพม่า สงครามทำให้อังกฤษได้ยึดดินแดนของพม่ามากขึ้นเรื่อยๆ จนท้ายที่สุดพม่าก็ตกเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษอย่างสมบูรณ์ ต่อมาเป็นมาลัยาแต่เดิมบริเวณนี้เป็นอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ อังกฤษได้ครอบครองปีนังสิงคโปร์ แล้วครอบครองตลอดจนทั้งมาเลยา บัดนี้จักรวรรดิอังกฤษได้ครอบครองพื้นที่ไปทั่วทุกทวีปตั้งแต่แคนาดาในทวีปอเมริกาเหนือ กายอานาในทวีปอเมริกาใต้ และอื่นอื่นอีกมากมายในแต่ละทวีป จึงได้ชื่อว่าเป็นจักรวรรดิที่พระอาทิตย์ไม่เคยตกดิน

และในขณะนั้นประเทศจีน ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์กรการค้าโลก นำไปสู่การขยายตัวของการลงทุนอย่างมหาศาลเพื่อที่จะเป็นโรงงานของโลกโดยอาศัยความได้เปรียบในแง่ของต้นทุนและวัตถุดิบและค่าแรงที่ถูกกว่า จึงกลายเป็นผู้นำเข้าสินค้าโภคภัณฑ์หลักของโลกผลักดันให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ทั้งเล็ก ถ่านหิน ยางพารา และน้ำมันดิบราคาพุ่งทะยานและส่งผลต่ออัตราเงินเฟ้อทั่วโลก

ด้วยความที่กษัตริย์มีเชื้อสายฝรั่งเศสส่งผลให้เชื้อพระวงศ์และชนชั้นปกครองพูดแต่ภาษาฝรั่งเศส และเมื่อบัลลัง ก์ของกษัตริย์ฝรั่งเศสว่างลง ทำให้กษัตริย์อังกฤษในขณะนั้น พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่สาม ได้อ้างสิทธิในการครอบครองฝรั่งเศส จนกลายเป็นชนวนความบาดหมางของอังกฤษและฝรั่งเศสที่บานปลายจนกลายเป็น สงครามที่ยาวนาน ในชื่อว่าสงครามร้อยปี ในขณะที่กองทัพฝรั่งเศสส่อแววจะพ่ายแพ้สงครามครั้งนี้ต้องหยุดชะงักลง เพราะมียมทูตรายใหม่ที่ทำลายล้างชีวิตผู้คนทั้งสองฝ่ายได้มากกว่า ที่มีชื่อว่า กาฬโรค

เป็นหนังสือที่สรุปเศรษฐกิจในยุคต่างๆอย่างรวบรัดและกว้างขวาง ข้อดีคือทำให้รู้ว่าในอดีตมีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นบ้าง และมีวิธีสร้างและแก้ปัญหาเศรษฐกิจในแต่ละยุคสมัยอย่างไร แต่จะเล่าในเชิงสรุปแบบรวบรัด ไม่มีการลงรายละเอียดหรือที่มาที่ไปให้เข้าใจลึกซึ้งเท่าไร ถ้าใครไม่เข้าใจประวัติศาสตร์หรือศัพท์ทางเศรษฐกิจ ก็อาจจะงงในบางบท แต่ถ้าใครอยากอ่านเพื่อรู้เหตุการณ์ต่างๆโดยคร่าวๆ เล่มนี้ก็อาจจะตอบโจทย์

อเมริกาและญี่ปุ่นเริ่มมีบทบาทในเศรษฐกิจโลกตั้งแต่ช่วงไหน?

จุดที่ชอบมากจุดหนึ่งคือ เศรษฐกิจโลก 1000 ปี หนังสือได้บอกจำนวนประชากรและขนาดเศรษฐกิจของประเทศในแต่ละยุคสมัย ซึ่งเป็นข้อมูลที่ไม่เคยรู้มาก่อน เวลายกตัวเลขทำให้เห็นภาพชัดเจน แอบขัดใจนิดนึงว่าบางบทพูดถึงตัวเลขเหล่านี้บ่อยเกินไป แม้ทำให้เปรียบเทียบง่าย แต่สูญเสียอรรถรสในการเล่าเรื่องอยู่พอควร

จบเรื่องค่าเงินไป มาต่อเรื่องน้ำมัน

สมาชิกต้องยินยอมที่จะยกเลิกการกำหนดค่าเงินของตนเอง แล้วหันไปผูกติดอัตราแลกเปลี่ยนกับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นเงินสกุลเดียวที่มีทองคำหนุน

บริการรวบรวมข้อมูลนักวิจัยและผลงานวิชาการเผยแพร่ที่เว็บไซต์ของห้องสมุด

ชาวอาณานิคมทั้งสิบสามแห่ง รวมกันประกาศอิสรภาพ แยกตัวออกจากอังกฤษ ตั้งประเทศใหม่ เรียกว่า สหรัฐอเมริกา

สงครามนี้แม้ยุโรปไม่สามารถรักษากรุงเยรูซาเล็มไว้ได้ แต่ทำให้ชาวยุโรปเห็นโลกชาวอาหรับที่ก้าวหน้ามากกว่า และนำมาซึ่งจุดเปลี่ยนสำคัญ คือ

Report this page